PRM
25 เมษายน 2567 16:38
7.65 บาท
เปลี่ยนแปลง (% เปลี่ยนแปลง)
-(-%)
ปริมาณซื้อขาย (หุ้น)
5,280,823
มูลค่าการซื้อขาย ('000 บาท)
40,377
หน่วย:ล้านบาท
สินทรัพย์รวม
รายได้จากการให้บริการ
กำไรสุทธิ
ดาวน์โหลดเอกสารนักลงทุน
แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี/รายงานประจำปี (แบบ 56-1 One Report) ปี 2566
รายงานประจำปี ปี 2563
Financial Statement ปี 2566
สินทรัพย์รวม
20,716.0
ล้านบาท
รายได้จากการให้บริการ
8,086.9
ล้านบาท
กำไรสุทธิ
2,213.9
ล้านบาท
รายการ (ล้านบาท) 2563 2564 2565 2566
งบแสดงฐานะทางการเงิน
สินทรัพย์รวม 13,642.9 17,349.0 20,575.3 20,716.0
หนี้สินรวม 5,319.0 8,239.0 9,763.2 8,677.4
ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 8,323.9 9,110.0 10,812.1 12,038.6
รายการ (ล้านบาท) 2563 2564 2565 2566
งบแสดงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
รายได้จากการให้บริการ 5,925.8 5,880.0 7,715.4 8,086.9
กำไรขั้นต้น 2,458.4 1,813.4 2,561.5 2,835.9
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (485.5) (498.1) (563.3) (586.0)
การแบ่งปันกำไรสุทธิ      
- ส่วนที่เป็นของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่ 1,533.1 1,402.8 2,214.9 2,125.4
- ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นอื่นจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน - - - -
- ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม 168.5 123.7 112.1 88.6
กำไรสุทธิ 1,701.6 1,526.5 2,327.0 2,214.0
กำไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน/2 (บาท) 0.61 0.56 0.89 0.85
รายการ 2563 2564 2565 2566
อัตราส่วนทางการเงิน
อัตรากำไรขั้นต้น (ร้อยละ) 41.49 30.84 33.20 35.07
อัตรากำไรสุทธิ* (ร้อยละ) 25.87 25.96 30.16 27.38
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) 20.76 16.86 23.08 19.29
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ร้อยละ) 15.78 12.28 14.64 13.14
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.68 0.94 0.90 0.72
หมายเหตุ:

1/ ในระหว่างปี 2559 บริษัทซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันจากบริษัทใหญ่ ดังนั้น บริษัทฯ จึงจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปี 2558 และปี 2557 ขึ้นใหม่โดยถือเสมือนว่าบริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทย่อย บริษัทร่วมและการร่วมค้าของบริษัทตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2557 ซึ่งเป็นไปตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี

2/ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ถือโดยผู้ถือหุ้น โดยไม่รวมหุ้นสามัญซื้อคืน

3/ อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Interest Bearing Debt) คำนวณจากหนี้สินที่มีภาระผูกพันดอกเบี้ยหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อนึ่ง Interest Bearing Debt หมายถึง หนี้สินที่มีภาระผูกพันดอกเบี้ย ทั้งหมดในงบการเงินรวมของบริษัทฯ ซึ่ง ณ วันที่ 30 มิถุนายน ประกอบไปด้วย 3 รายการ คือ (ก) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ข) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน และ (ค) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

* กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่